มือใหม่เริ่มเขียนโปรแกรม
ด้วย Visual Basic
How to order...Order now...
ธนพล ฉันจรัสวิชัย225บ. 348น. 200บ.
  • เหมาะสำหรับบุคคลทั่วไป หรือแม้แต่ผู้เริ่มต้นที่ไม่เคยเขียนโปรแกรมมาก่อน
  • มีตัวอย่างประกอบคำอธิบายอย่างละเอียด พร้อมบริการสอบถามปัญหาโดยตรงถึงผู้เขียน
  • เรียนรู้ถึงวิธีการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ (Object Oriented Programming)
  • อธิบายถึงความสัมพันธ์ระหว่างพรอเพรอ์ตีและอีเวนต์กับอ็อบเจ็กต์ต่างๆ
  • แนะแนวทางการใช้เครื่องมือต่างๆ อย่างเช่น Tool Box และ Menu Bar อย่างถูกต้อง

บทที่ 1 เข้าสู่การทำงานของ Visual Basic

เริ่มต้นด้วยการศึกษาวิธีการใช้โปรแกรม Visual Basic ศึกษาการใช้เมนู และการใช้เครื่องมือ (Tools) ต่างๆ ที่เป็นบันไดขึ้นแรกสำหรับโปรแกรมแบบฉบับของเราเอง

  • Menu Bar
    • เมนู File
    • เมนู Edit
    • เมนู View
    • เมนู Project
    • เมนู Run
    • เมนู Tools
    • เมนู Add-Ins
    • เมนู Help
  • Tool Bar
    • Project Box
  • Tool Box
    • หลักการใช้ Tool Box
  • Property Box
    • การใช้พรอเพอตีบนฟอร์ม ที่มีอ็อบเจ็กต์หลายตัว

บทที่ 2 คำสั่งพื้นฐาน

ในการเขียนโปรแกรม สิ่งที่จะลืมไม่ได้เลย คือคำสั่งพื้นฐานอันได้แก่ การบวกลบคูณหาร การทำงานแบบมีเงื่อนไข และการทำงานวนรอบ ซึ่งคำสั่งเหล่านี้จะเป็นสิ่งที่ขาดไม่ได้ในทุกโปรแกรม

  • ความรู้พื้นฐานที่ควรมีในการเขียนโปรแกรม
  • คำสั่งพื้นฐานของการเขียนโปรแกรม
    • สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์
    • ตัวแปรชนิดจำนวนเต็ม (Integer)
    • ตัวแปรชนิดตัวอักษร(String)
    • คำสั่งเงื่อนไขและคำสั่งวนรอบ
    • พื้นฐานของฐานข้อมูลบนไฟล์ข้อความธรรมดา (text file)

บทที่ 3 การทำงานของโปรแกรมใน Visual Basic

สิ่งต่อไปที่เราควรจะทำความเข้าใจ ก็คือการทำงานของโปรแกรมใน Visual Basic ที่ประกอบไปด้วย ฟอร์ม, โมดูล และไฟล์ข้อความธรรมดาจะทำงานสัมพันธ์กันได้อย่างไร ตลอดจนการเรียงลำดับโปรแกรมและการทดสอบโปรแกรมทำได้อย่างไร

  • รูปแบบการทำงานของ Visual Basic
  • การเริ่มต้นเขียนโปรแกรม
  • การตรวจสอบข้อความของโปรแกรม
  • การเพิ่มฟอร์ม
  • การเพิ่มโมดูล
  • การเพิ่มไฟล์จากภายนอก
  • การเลือกฟอร์มสำหรับเริ่มต้นโปรแกรม
  • การทดลองการทำงานของโปรแกรม
  • การจัดเก็บโปรแกรม

บทที่4 Form Object

ฟอร์มเป็นเหมือนกับแผ่นกระดาษเปล่าๆ สักแผ่นหนึ่ง ที่เราจะแต่งเติมอะไรลงไปก็ได้ ไม่ว่าจะเป็น ข้อความ ช่องกรอกข้อมูล และปุ่ม ซึ่งสิ่งต่างๆ เหล่านี้ จะเป็นเหมือนกับส่วนโต้ตอบให้ผู้ใช้งานโปรแกรมทราบ ดังนั้น ฟอร์มจึงน่าจะเป็นสิ่งแรกสุดที่เราควรจะศึกษากัน

  • Form Property
    • Appearance
    • Caption
    • Icon
    • Name
    • Font
    • Border style
    • Width
    • Height
    • Left
    • Top
    • MousePointer
    • MouseIcon
    • WindowState
    • MaxButton, MinButton
  • คำสั่งที่ใช้ในฟอร์ม
    • Cls
    • CurrentX, CurrentY
    • Print
    • ScaleWidth
    • ScaleHeight
    • Screen.Width
    • Screen.Height
    • Move
  • คำสั่งสำหรับทำงานกราฟฟิก
    • Line (X1,Y1)-(X2,Y2)
    • Line (X1,Y1)-(X2,Y2),สี
    • Line (X1,Y1)-(X2,Y2),,B
    • Line (X1,Y1)-(X2,Y2),,BF
    • Line - (X1,Y1)
    • Pset (X1,Y1)
  • คำสั่งสำหรับการใช้สี
    • QbColor (N)
    • RGB (N1, N2, N3)
    • ScaleMode
    • Circle (X1,Y1),R,สี
    • การสร้างวงรี
  • การใช้รูปภาพด้วยคำสั่ง LoadPicture(File)
  • แสดงวันเวลาปัจจุบันด้วยคำสั่ง Now
  • การควบคุมและกำหนดตำแหน่งทำงานของโปรแกรม
    • Unload
    • SetFocus
    • On Error Go To
    • Exit Sub, Exit For
    • การรับข้อมูลและโต้ตอบกับผู้ใช้งานโปรแกรม
    • Input Box
    • MsgBox
  • เหตุการณ์ที่ใช้กับฟอร์ม
    • Form_Load
    • Form_Paint
    • Form_Active
    • Form_MouseMove
    • Form_Click, Form_DbClick
    • Form_GotFocus
    • Form_LostFocus
    • Form_MouseDown, Form_MouseUp
    • Form_KeyDown, Form_KeyUp
    • Form_KeyPress
    • DragDrop, DragOver

บทที่ 5 Text Box Object

Text Box เป็นเหมือนเครื่องมือที่จะขาดเสียไม่ได้ในทุกโปรแกรม ถ้าไม่มี Text Box แล้ว ก็จะไม่มีการรับค่าหรือข้อมูลจากผู้ใช้ ไม่มีลักษณะการทำงานที่เป็นอินเทอร์แอคทีฟ ดังนั้นเรามาดูกันดีกว่าว่า Text Box มีพรอเพอร์ตีเป็นอย่างไร มีลูกเล่นอะไรให้เราปรับแต่งได้บ้าง

  • พรอเพอร์ตีของ Text Box
    • BorderStyle
    • Enabled
    • Visible
    • Name
    • Index
    • Multiline
    • ScrollBar
    • PasswordChar
    • ReadOnly
    • MaxLength
  • การปรับขนาดของ Text Box ให้เท่ากับฟอร์ม
  • เหตุการณ์ของ Text Box
    • GotFocus
    • LostFocus
    • KeyDown, KeyUp
    • KeyPress
    • Change

บทที่ 6 Label Object

Label นอกจากจะสามารถแสดงข้อความต่างๆ ได้เหมือน Text Box แล้ว Label ยังสามารถเปลี่ยนรูปแบบของตัวอักษรได้อีกด้วย เช่น เปลี่ยนขนาดของตัวอักษร ชนิดของตัวอักษรและสีของตัวอักษร

  • พรอเพอร์ตีที่สำคัญของ Label
    • Caption
    • Alignment
    • BorderStyle
    • Font
    • BackStyle
    • BackColor
    • ForeColor
    • Visible
  • เหตุการณ์ของ Label
    • Click, DbClick
    • MouseDown, DragOver
    • DragDrop
    • MouseUp
    • MouseMove

บทที่ 7 List Box Object

วิธีการรับข้อมูลด้วยการพิมพ์ข้อมูลลงไปใน Text Box ดูเหมือนจะเป็นวิธีการที่ไม่อำนวยความสะดวกให้แก่ผู้ใช้งานเลย ผู้ใช้ต้องพิมพ์ข้อความทั้งหมดด้วยตนเอง ดังนั้นวิธีการรับข้อมูล โดยวิธีการสร้างตัวเลือกอย่างเช่นใน List Box ให้ผู้ใช้คลิกเลือกจึงเกิดขึ้น

  • การนำข้อมูลเข้าไปใน List Box โดยการเขียนโปรแกรม
    • List(n)
    • ListCount
  • การนำข้อมูลเข้า List Box โดยการบันทึกใน Property Box
  • เหตุการณ์ของ List Box
    • Click

บทที่ 8 Combo Box Object

จากบทที่ผ่านมา การใช้ List Box มีข้อดีตรงที่ทำให้เราสามารถเห็นตัวเลือกที่มีทั้งหมดได้ แต่ข้อเสียก็คือ เราต้องสิ้นเปลืองพื้นที่บนฟอร์ม ดังนั้น Combo Box จึงเป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่ให้ผู้ใช้งานโปรแกรมเห็นตัวเลือกทั้งหมดได้ โดยไม่สิ้นเปลืองพื้นที่

  • พรอเพอร์ตีของ Combo Box
    • Style
    • Text
    • Sort
    • Listindex
    • List(n)
    • ListCount
  • เหตุการณ์ของ Combo Box
    • Click
    • KeyDown, KeyUp และ KeyPress

บทที่ 9 Frame และ Option Box Object

frame เป็นอ็อบเจ็กต์สำหรับรวมกลุ่มอ็อบเจ็กต์อื่นๆ เอาไว้ เพื่อความสะดวกในการเคลื่อนย้ายและการทำงาน ส่วน Option เป็นอ็อบเจ็กต์สำหรับให้เลือกรายการใดรายการหนึ่งจากรายการทั้งหมด

  • Frame Object
  • พรอเพอร์ตีของ Frame
    • Caption
    • Font, ForeColor
    • BackColor
    • BorderStyle
  • เหตุการณ์ของ Frame
  • Option Box Object
  • พรอเพอร์ตีของ Option Box
    • Value
    • Alignment
    • Caption
    • Font, ForeColor
    • BackColor
    • enabled
    • Visible
  • เหตุการณ์ของ Option Box

บทที่ 10 Check Box และ Command Button Object

ในกรณีที่เราต้องการให้ผู้ใช้งานโปรแกรม เลือกตัวเลือกได้มากกว่า 1 ตัวเลือกขึ้นไป เราจะไม่ใช้ Option Box เนื่องจากสามารถเลือกได้แค่ 1 ตัวเลือกเท่านั้น แต่เราจะใช้ Check Box แทน นอกจากนั้น ในบทนี้จะพูดถึงหัวใจสำคัญอย่างหนึ่งของฟอร์มด้วย คือ Command Button

  • Check Box Object
  • พรอเพอร์ตีของ Check Box
    • Value
    • Alignment
    • Caption
    • Font, ForeColor
    • BackColor
    • Enabled
    • Visible
  • เหตุการณ์ของ Check Box
  • Command Button Object
  • พรอเพอร์ตีของ Command Button
    • Caption
    • Font, ForeColor
  • เหตุการณ์ของ Command Button

บทที่ 11 Hscroll และ Vscroll Bar Object

เวลาที่ข้อมูลมีจำนวนมาก ซึ่งทำให้ไม่สามารถแสดงข้อมูลทั้งหมดได้ คนเขียนโปรแกรมก็มักจะใช้ Scroll Bar เป็นตัวเลื่อนให้เราสามารถดูข้อมูลได้ครบถ้วน ในโปรแกรม Visual Basic ก็เช่นเดียวกัน โปรแกรมจะมีอ็อบเจ็กต์ของ Scroll Bar มาให้ทั้งแนวนอนและแนวตั้ง

  • พรอเพอร์ตีของ Hscroll และ Vscroll Bar
    • Value
    • Max
    • Min
    • LargeChange
    • SmallChange
  • เหตุการณ์ของ Hscroll และ Vscroll Bar
    • Change

บทที่ 12 File Box Object

เพื่อความสะดวกในการเขียนโปรแกรม ที่เราต้องการแสดงข้อมูลไฟล์ที่มีทั้งหมดในไดเรกทอรี โปรแกรม Visual Basic จึงมีอ็อบเจ็กต์พิเศษชนิดหนึ่ง ที่เรียกว่า File List Box ซึ่งเป็นอ็อบเจ็กต์ที่สามารถแสดงรายชื่อไฟล์ที่มีทั้งหมดในไดเรกทอรี ด้วยการเขียนโปรแกรมง่ายๆ เท่านั้น

  • พรอเพอร์ตีของ File List Box
    • Pattern
    • Listindex
    • List(n)
    • ListCount
    • Font, ForeColor และ BackColor
    • Path
  • เหตุการณ์ของ File List Box

บทที่ 13 Drive และ Dir Object

Drive และ Dir เป็นอ็อบเจ็กต์ที่เอาไว้ทำงานคู่กับ File List Box โดยที่ Drive จะกำหนดตำแหน่งของไดรฟ์ และ Dir จะกำหนดตำแหน่งไดเรกทอรี ที่เราต้องการแสดงข้อมูลไฟล์ที่มีอยู่ทั้งหมดออกมา

  • Drive Object
  • พรอเพอร์ตีของ Drive
  • เหตุการณ์ของ Drive
  • Dir Object
  • พรอเพอร์ตีของ Dir
  • เหตุการณ์ของ Dir
  • การทำงานที่สัมพันธ์กันของ Drive, Dir และ File List Box

บทที่ 14 Shape และ Line Object

ในการเขียนโปรแกรม บางครั้งเราจำเป้นจะต้องสร้างเส้นตรง วงกลม สี่เหลี่ยมหรือรูปทรงง่ายๆ ขึ้นในโปรแกรมของเรา เราจำเป็นต้องอาศัยอ็อบเจ็กต์ Shope และ Line สำหรับการทำงานในลักษณะนี้

  • Shape Object
  • พรอเพอร์ตีของShape
    • Shape
    • BorderStyle
    • BorderWidth
    • BackStyle
    • BackColor
    • FillStyle
    • FillColor
  • เหตุการณ์ของ Shape
  • Line Object
  • พรอเพอร์ตีของ Line
    • X1, X2, Y1, Y2
    • BorderColor
    • BorderStyle
    • BorderWidth

บทที่ 15 Picture, Image และ Timer Object

Picture และ Image เป็นอ็อบเจ็กต์ที่ใช้สำหรับนำไฟล์รูปภาพไปแสดงในโปรแกรม ส่วน Timer เป็นอ็อบเจ็กต์ที่ใช้ตั้งเวลากำหนดการทำงานให้แก่อ็อบเจ็กต์ตัวอื่นๆ และนี่ก็จะเป็นอ็อบเจ็กต์สุดท้าย ที่จะกล่าวถึงกันในหนังสือเล่มนี้

  • Picture Object
  • พรอเพอร์ตีของ Picture
    • Font Transparent
  • คำสั่งที่ใช้ใน Picture
    • Picture.Line (X1,Y1)-(X2,Y2)
    • Picture.Line (X1,Y1)-(X2,Y2),สี
    • Picture.Line (X1,Y1)-(X2,Y2),,B
    • Picture.Line (X1,Y1)-(X2,Y2),,BF
    • Picture.Line-(X1,Y1)
    • Picture.Pset (X1,Y1)
  • เหตุการณ์ของ Picture Object
  • Image Object
  • พรอเพอร์ตีของ Image
    • Stretch
  • เหตุการณ์ของ Image
  • Timer Object
  • พรอเพอร์ตีของ Timer
    • Interval
    • Enabled

บทที่ 16 ต้วอย่างโปรแกรม

หลังจากที่เราเรียนรู้การติดตั้งอ็อบเจ็กต์ และการแก้ไขเปลี่ยนแปลงพรอเพอร์ตี รวมทั้งการเขียนโปรแกรมในโปรแกรมย่อยของเหตุการณ์ต่างๆ แล้ว ในบทนี้เราลองเอาสิ่งที่เราได้เรียนรู้มาเขียนโปรแกรม เพื่อสร้างโปรแกรมเอาไว้ใช้กันเองดีกว่าครับ

  • ตัวอย่างที่ 16-1 ป้ายโฆษณาตัวอักษรวิ่งได้
  • ตัวอย่างที่ 16-2 เมนูแบบง่ายๆ
  • ตัวอย่างที่ 16-3 เมนูแบบมีภาพประกอบ
  • ตัวอย่างที่ 16-4 เชิญเลือกสีได้ตามอัธยาศัย
  • ตัวอย่างที่ 16-5 รหัสผ่าน
  • ตัวอย่างที่ 16-6 ค่ารหัสแอสกีต่างๆ เป้นอย่างไร
  • ตัวอย่างที่ 16-7 แปลงหน่วยของตัวเลขไปมาน่าสนุก!
  • ตัวอย่างที่ 16-8 เมาส์อยู่ที่ไหน รูปขอไปด้วย
  • ตัวอย่างที่ 16-9 ใช้ Scroll Bar กำหนดเส้นหนาหรือบาง
  • ตัวอย่างที่ 16-10 โปรแกรมวาดรูป แบบฉบับของเราเอง
  • ตัวอย่างที่ 16-11 เก็บและเรียกค่าจากฐานข้อมูล
  • ตัวอย่างที่ 16-12 Scroll Bar เปลี่ยนสีและรูปร่างได้หลากหลาย
  • ตัวอย่างที่ 16-13 ลากมาลากไปไอคอนก็เปลี่ยน
  • ตัวอย่างที่ 16-14 เรื่องของวงกลมและวงรี

ภาคผนวก

  • ตารางรหัสแอสกี
  • ดัชนี

แสดงรายการหนังสือ | สั่งซื้อหนังสือ


Copyright © 2001, Witty Group Co., Ltd.